1. ข้อมูลทั่วไป
ถิ่นอาศัย อินโดนีเซีย
แหล่งที่พบ นำเข้าจากประเทศศรีลังกาตั้งแต่รัชกาลที่ 3 และปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปในประเทศไทย
สถานภาพในประเทศไทย พืชที่หายาก
2. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลำต้น ลำต้นวัดจากโคนต้นถึงจุดที่มีการแทงปลีมีความสูงประมาณ 8 เมตร เส้นรอบวงของลำต้นประมาณ 86.5 เซนติเมตร การแตกหน่อชิดต้นแม่ลำต้นเป็นไม้เนื้อแข็งสีน้ำตาล
ใบ ใบเรียงเป็น 2 ทาง สลับซ้ายขวาจนถึงยอด ขอบใบตั้งขึ้น มีไขบนกาบใบมาก ก้านใบยาวประมาณ 280 เซนติเมตร ใบยาวประมาณ 220 เซนติเมตร ความกว้างใบประมาณ 73 เซนติเมตร
ดอก หรือปลี ช่อดอกออกจากบริเวณซอกใบ มีใบประดับ หรือกาบปลีแข็งห่อหุ้มช่อดอกย่อย มีไขบนกาบปลีมาก ใบประดับสีเหลืองอมเขียว ปลายแหลม เมื่อบานใบประดับจะกางออกประกอบด้วยช่อดอกย่อยประมาณ 9 ช่อ ซึ่งภายในประกอบด้วยดอกย่อยประมาณ 20-11 ดอก/ช่อดอกย่อย
3. การปลูกเลี้ยงและการใช้ประโยชน์
การปลูกเลี้ยง ขุดหลุมขนาด 30x30x30 เซนติเมตร วางหน่อลงปลูกกลางหลุม กลบดินโดยรอบให้แน่น หลังปลูก 1 เดือนให้ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จากนั้นให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับปุ๋ยอินทรีย์ทุก 3 เดือน
การใช้ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ
ถิ่นอาศัย อินโดนีเซีย
แหล่งที่พบ นำเข้าจากประเทศศรีลังกาตั้งแต่รัชกาลที่ 3 และปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปในประเทศไทย
สถานภาพในประเทศไทย พืชที่หายาก
2. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลำต้น ลำต้นวัดจากโคนต้นถึงจุดที่มีการแทงปลีมีความสูงประมาณ 8 เมตร เส้นรอบวงของลำต้นประมาณ 86.5 เซนติเมตร การแตกหน่อชิดต้นแม่ลำต้นเป็นไม้เนื้อแข็งสีน้ำตาล
ใบ ใบเรียงเป็น 2 ทาง สลับซ้ายขวาจนถึงยอด ขอบใบตั้งขึ้น มีไขบนกาบใบมาก ก้านใบยาวประมาณ 280 เซนติเมตร ใบยาวประมาณ 220 เซนติเมตร ความกว้างใบประมาณ 73 เซนติเมตร
ดอก หรือปลี ช่อดอกออกจากบริเวณซอกใบ มีใบประดับ หรือกาบปลีแข็งห่อหุ้มช่อดอกย่อย มีไขบนกาบปลีมาก ใบประดับสีเหลืองอมเขียว ปลายแหลม เมื่อบานใบประดับจะกางออกประกอบด้วยช่อดอกย่อยประมาณ 9 ช่อ ซึ่งภายในประกอบด้วยดอกย่อยประมาณ 20-11 ดอก/ช่อดอกย่อย
3. การปลูกเลี้ยงและการใช้ประโยชน์
การปลูกเลี้ยง ขุดหลุมขนาด 30x30x30 เซนติเมตร วางหน่อลงปลูกกลางหลุม กลบดินโดยรอบให้แน่น หลังปลูก 1 เดือนให้ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จากนั้นให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับปุ๋ยอินทรีย์ทุก 3 เดือน
การใช้ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น